วันอาทิตย์ที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2552

การสร้างคำในภาษาไทย

การสร้างคำใหม่ มีอยู่ 3 แบบด้วยกันคือ
1. คำซ้ำ
2.
คำซ้อน
3.
คำประสม

วันเสาร์ที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2552

คำพังเพย

คำพังเพย คือ ถ้อยอุปมาที่กล่าวกระทบเสียดสี ซึ่งมาจากเหตุการณ์เรื่องราวหรือความเป็นไปในวิถีชีวิตของคนรุ่นก่อนเป็นสิ่งควรค่าแก่การเรียนรู้ และจดจำเป็นอย่างยิ่ง เช่น
ขว้างงูไม่พ้นคอ หมายถึง สิ่งไม่ดีที่เราพยายามกำจัดมักจะวกกลับมาอีก
ปากปราศรัยใส น้ำใจเชือดคอ หมายถึง พูดดีแต่ปาก แต่ใจคิดร้าย
รู้อย่างเป็ด หมายถึง ไม่ควรรู้อะไรหลาย ๆ อย่าง แต่ไม่รู้จริงสักอย่าง
ข้างนอกสุกใส ข้างในเป็นโพรง หมายถึง ข้างนอกอาจจะดูดี มีค่า แต่ข้างในหรือตามความเป็นจริงแล้ว มิได้ดีตามที่
น้ำกลิ้งบนใบบอน หมายถึง ใจโลเล ใจไม่แน่นอน เปลี่ยนไปอยู่เรื่อย ๆ
ฝนทั่งให้เป็นเข็ม หมายถึง ความเพียรพยายาม ทำให้ประสบผลสำเร็จ

คำพังเพย

คำพังเพย คือ ถ้อยอุปมาที่กล่าวกระทบเสียดสี ซึ่งมาจากเหตุการณ์เรื่องราวหรือความเป็นไปในวิถีชีวิตของคนรุ่นก่อนเป็นสิ่งควรค่าแก่การเรียนรู้ และจดจำเป็นอย่างยิ่ง เช่น
น้ำเชี่ยวอย่าขวางเรือ หมายถึง อย่าขัดขวางหรือขัดแย้งกับผู้มีอำนาจ เพราะไม่เกิดประโยชน์ใด
ปลาใหญ่กินปลาเล็ก หมายถึง ผู้มีอำนาจมากกว่ากดขี่ข่มเหงผู้ที่อ่อนแอกว่า

คำพังเพย

คำพังเพย คือ ถ้อยอุปมาที่กล่าวกระทบเสียดสี ซึ่งมาจากเหตุการณ์เรื่องราวหรือความเป็นไปในวิถีชีวิตของคนรุ่นก่อนเป็นสิ่งควรค่าแก่การเรียนรู้ และจดจำเป็นอย่างยิ่ง เช่น
น้ำเชี่ยวอย่าขวางเรือ หมายถึง อย่าขัดขวางหรือขัดแย้งกับผู้มีอำนาจ เพราะไม่เกิดประโยชน์ใด
ปลาใหญ่กินปลาเล็ก หมายถึง ผู้มีอำนาจมากกว่ากดขี่ข่มเหงผู้ที่อ่อนแอกว่า

คำพังเพย

คำพังเพย คือ ถ้อยอุปมาที่กล่าวกระทบเสียดสี ซึ่งมาจากเหตุการณ์เรื่องราวหรือความเป็นไปในวิถีชีวิตของคนรุ่นก่อนเป็นสิ่งควรค่าแก่การเรียนรู้ และจดจำเป็นอย่างยิ่ง เช่น
น้ำเชี่ยวอย่าขวางเรือ หมายถึง อย่าขัดขวางหรือขัดแย้งกับผู้มีอำนาจ เพราะไม่เกิดประโยชน์ใด
ปลาใหญ่กินปลาเล็ก หมายถึง ผู้มีอำนาจมากกว่ากดขี่ข่มเหงผู้ที่อ่อนแอกว่า

คำควบกล้ำไม่แท้

1. อ่านออกเสียงเพียงพยัญชนะตัวแรกเพียงตัวเดียว
2. อ่านออกเสียงเป็นพยัญชนะตัวอื่น
ตัวอย่าง
ศ ควบ ร เช่น เศร้า ศรี อาศรม เศรษฐี

ข้อมูลส่วนตัว

คำควบกล้ำไม่แท้ คือ คำที่มีพยัญชนะ 2 ตัวควบกล้ำอยู่ในสระเดียวกัน เวลาอ่านจะออกเสียง 2 แบบ